NEWS » News, Reincarnations III : Ecologies of life

WARIN LAB CONTEMPORARY Reincarnations III – Ecologies of Life

Reincarnations is an ongoing, multidisciplinary art project by Thai artist Ruangsak Anuwatwimon, which looks at endangered ecologies or extinct species as the consequence of human actions and not because of organic evolution.

Specifically, Reincarnations III at Warin Lab features two- and three-dimensional works based on research conducted by the artist on the Bhutan Glory butterfly and the Japanese wolf. The butterfly and the wolf are accompanied by a newly commissioned piece on the rare, now extinct Schomburgk’s Deer native to the Rangsit area, in the outskirts of Bangkok. The causes of its extinction, predating WWII, are still unclear.

The choice of this particular deer for Reincarnations III is suggested by the location of Warin Lab and to which the artist responds with site-specific research. In fact, the gallery occupies the former house of Khun Boonsong Lekagul, a medical doctor and also the first researcher and ecologist of Thailand’s wildlife. In the 1950s and 60s, Khun Boonsong Lekagul not only research on and led preservation efforts of endangered animal species in Thailand, but also produced and collected a number of books on wildlife, including Schomburgk’s Deer.

Crossing multiple disciplines, Reincarnations III – Ecologies of Life invites visitors to reflect on the importance of caring for our planet and the life that surrounds us, including humans, starkly manifested by this coronavirus pandemic, while emphasizing the role of art for powerful engagement and social activism at a time of increasingly fluid and overlapping confines of art and society.

Reincarnations เป็นโปรเจคศิลปะสื่อผสมของเรืองศักดิ์ อนุวัตรวิมล ที่จับประเด็นสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศที่ใกล้จะสูญพันธุ์ รวมถึงสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ซึ่งเป็นผลมาจากการพฤติกรรมหรือการกระทำต่างๆของมนุษย์
 
นิทรรศการ Reincarnations III – Ecologies of Life เป็นศิลปะการจัดวางที่ประกอบไปด้วยผลงานที่เกิดจากการค้นคว้าวิจัยของศิลปิน ทั้งรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ได้แก่ ผีเสื้อสมิงเชียงดาว หมาป่าญี่ปุ่น และเนื้อสมัน โดยเนื้อสมันเป็นสัตว์พื้นเมืองของประเทศไทย อาศัยอยู่บริเวณทุ่งรังสิต ซึ่งสาเหตุของการสูญพันธุ์ไม่มีระบุไว้ชัดเจนในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่าเป็นเพราะเหตุผลใดกันแน่ มีเพียงข้อสันนิษฐานว่าอาจจะเกิดจากวัฒนธรรมการล่าสัตว์ หรือความเจริญที่ขยายเข้ามา
 
พื้นที่ของวารินแล็บ คอนเท็มโพรารี เป็นบ้านเก่าของนายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล นักอนุรักษ์ชื่อดัง ซึ่งเป็นหนึ่งแรงบันดาลใจในผลงานชุดนี้
 
นอกจากงานวิจัย นายแพทย์บุญส่งยังได้บันทึกข้อมูลเฉพาะเกี่ยวกับเนื้อสมัน และเขียนหนังสือไว้หลายเล่ม ถือเป็นอีกแรงสนับสนุนให้กับผลงานศิลปะการจัดวางชุดนี้
 
Reincarnations III – Ecologies of Life ต้องการจะสะท้อนให้ผู้ชมเห็นถึงความสำคัญของสิ่งมีชีวิตรอบตัว ในขณะเดียวกันนิทรรศการนี้ก็เน้นย้ำบทบาทหน้าที่ของงานศิลปะ ที่นอกจากจะสร้างความสุนทรีย์แล้ว ศิลปะเป็นส่วนสำคัญในการกระตุ้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ และสร้างความร่วมมือในสังคม เพื่อขับเคลื่อนไปสู่ความเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้น